การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย
ความยั่งยืน

กรอบการดำเนินงานกับผู้มีส่วนได้เสีย
1. การจำแนกและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย
จัดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สำคัญและกลุ่มรองเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบทั้งทางตรง ทางอ้อม และช่องทางในการมีส่วนร่วมที่เหมาะสมในการกำหนดประเด็นความยั่งยืนร่วมกัน
2. การรับฟังและการมีส่วนร่วม
จัดช่องทางการสื่อสารทั้งออนไลน์และออฟไลน์รวมทั้งการพบปะแบบตัวต่อตัว โดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรงเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงช่องทางรับข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนการสำรวจความต้องการ ความพึงพอใจ และความผูกพัน การทำสนทนากลุ่ม การประชุม และการจัดกิจกรรมร่วมกัน ตามกระบวนการและกิจกรรมที่กำหนดอย่างสม่ำเสมอ
3. การตอบสนอง
กำหนดกระบวนการตอบสนองต่อความต้องการและข้อร้องเรียนในแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสม และรัดกุม มีการสื่อสาร หรือเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน เพียงพอและทันท่วงที อีกทั้งมีการกำหนดกระบวนการรองรับและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ นำไปสู่การพัฒนาปรับปรุงกระบวนการภายในต่อไป

บริษัทฯ แบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 9 กลุ่มใหญ่ และกําหนดหน่วยงานผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสร้างการมีส่วนร่วม การสื่อสาร การรับฟัง การดูแล และการตอบสนองต่อข้อคิดเห็นและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสม ครบถ้วน และทันท่วงที โดยมีการนําข้อคิดเห็นที่ได้รับมาปรับเข้ากับการดําเนินงานของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยบริษัทฯ ได้ดำเนินการสื่อสารและมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้
ผู้มีส่วนได้เสีย | การมีส่วนร่วม | ความสนใจและความคาดหวัง |
---|---|---|
ลูกค้า |
|
|
ร้านค้า |
|
|
พนักงาน |
|
|
คู่ค้า |
|
|
ชุมชน |
|
|
ภาครัฐ ภาคการศึกษา องค์กรอิสระ และองค์กรอื่นๆ ในสังคม |
|
|
ผู้ถือหุ้น |
|
|
คู่แข่งทางการค้า |
|
|
เจ้าหนี้ |
|
|